วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล

           ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต

microevolution and macroevolution

           มีปัจจัยใดบ้างที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร
           ปัจจัยที่ทำให้ความถี่ของแอลลีนในประชากรเปลี่ยนแปลงและเกิดวิวัฒนาการ ได้แก่ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน มิวเทชัน และการเลือกคู่ผสมพันธุ์ ซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ทำให้เกิดวิวัฒนาการได้อย่างไร
           1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random geneticdrif) เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น ในประชากรเริ่มต้นมีความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับ ความถี่ของแอลลีน A และ a  เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับความถี่ของแอลลีน A ในประชากรรุ่นถัดไป อาจมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่มากหรือน้อยกว่าความถี่ของแอลลีล A และ a ในประชากรเริ่มต้น

 

           แรนดอมจีเนติกดริฟท์เกิดขึ้นได้กับประชากรทุกขนาด แต่เห็นชัดเจน และรวดเร็วกับประชากรขนาดเล็ก

71 ความคิดเห็น:

  1. นางสาวพัชรินทร์ บริหาร เลขที่ 28 ม.6/2
    สรุป ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ ที่พบในธรรมชาติมี 2สถานการณ์ คือ ปรากฏการณ์คอขวด ( Bottleneck effect ) และ ผลกระทบจากผู้ก่อตัว ( Founder effect )
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow)
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating)
    4. มิวเทชัน(mutation)
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection)

    ตอบลบ
  2. นางสาวประภัสรา เนื่องขันตรี เลขที่ 36 ชั้นม.6/2
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติคือ ความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอยู่ใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การผ่าเหล่าหรือมิวเทชันมีทั้งที่เกิดกับเซลล์ร่างกายซึ่งเรียกว่าโซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล์สืบพันธุ์เรียกว่าแกมีติคมิวเทชัน (gametic mutation) มิวเทชันที่มีผลต่อขบวนการวิวัฒนาการมาก
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากรสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีการอพยพเข้าหรือออกของสมาชิก ส่งผลให้มีการหมุนเวียนพันธุกรรมหรือที่เรียกว่าการไหลของยีน (gene flow) เกิดขึ้นระหว่างประชากรย่อยๆ
    4.ขนาดของประชากร การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร มีบทบาทสําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนและโครงสร้างของยีนพูล (gene pool) ซึ่งเกิดจากโอกาส หรือความบังเอิญ หรือจากภัยธรรมชาติ
    5.รูปแบบของการผสมพันธุ์
    1. การผสมพันธุ์แบบสุ่ม
    2. การผสมพันธุ์ที่ไม่เป็นแบบสุ่ม

    ตอบลบ
  3. น.ส.สุพัตรา เขตเวียง ม. 6/2 เลขที่ 24
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กนั้น ความถี่ของแอลลีลในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามรถสังเกตเห็นได้ นั่นคือประชากรเกิดวิวัฒนาการขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กทีละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค(macroevolution) ซึ่งถึงได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชิส์ของสิ่งมีชีวิต
    จากล่าวมาแล้วว่าปัจจัยที่ทำให้ความถี่ของแอลลีลในประชากรเปลี่ยนแปลงละเกิดวิวัฒนาการ ได้แก่แรนดอมจีเนติกดริฟท์การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน มิวเทชัน และการเลือกคู่ผสมพันธุ์
    จากปัจจัยต่างๆที่ได้กล่าวมาแล้ว ทุกปัจจัยมีผลทำให้ความถี่ของแอลลีลที่เป็นองศ์ประกอบทางพันธุกรรมในประชากรมีการเปลี่ยนแปลง และมีเพียงการคัดเลือกโดยธรรมชาติเท่านั้นที่การเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรทำให้มีลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม

    ตอบลบ
  4. นางสาวเจนจิรา ภารนาถ ชั้น ม.6/2 เลขที่ 34
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีน
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow)
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating) ประชากรที่สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่าๆกัน จะไม่มีผลต่อการเปลี่นแปลงความถี่ของยีนพูลของประชากรในทุกรุ่น
    4. มิวเทชัน(mutation) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับยีน และในระดับโครโมโซมในลักษณะต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นได้เสมอในสภาวะปกติ
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection) ทำให้สมาชิกของประชากรที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมีจำนวนมากเพิ่มขึ้น ลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูกคัดทิ้ง

    ตอบลบ
  5. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    นายกฤษฎา โนวะ เลขที่ 1 ม.6/2

    ตอบลบ
  6. นายสิทธิศักดิ์ ประทุมชาติ เลขที่ 13 ม.6/2
    1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดความสามารถในการสืบพันธุ์จะเพิ่มจํานวนได้สูงมาก หากไม่มีปัจจัยที่จํากัดการเพิ่มจํานวนแล้ว สิ่งมีชีวิตทั้งหลายคงจะล้นโลก แต่ตามที่เป็นจริง จํานวนของสิ่งมีชีวิตค่อนข้างจะคงที่ เนื่องจากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ซึ่งอาศัยหลักเกณฑ์พื้นฐานว่าจะไม่มีลักษณะทางกรรมพันธุ์ชุดเดียวที่เหมาะสมต่อสภาพความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่อาศัย ฉะนั้นการคัดเลือกโดยธรรมชาติจึงต้องมีปัจจัยสําคัญ คือ ความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอยู่ใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม
    การผ่าเหล่า (mutation) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การผ่าเหล่าหรือมิวเทชันมีทั้งที่เกิดกับเซลล์ร่างกายซึ่งเรียกว่าโซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล์สืบพันธุ์เรียกว่าแกมีติคมิวเทชัน (gametic mutation)
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากร
    สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีการอพยพเข้าหรือออกของสมาชิก ส่งผลให้มีการหมุนเวียนพันธุกรรมหรือที่เรียกว่าการไหลของยีน (gene flow)
    4.ขนาดของประชากร
    การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร มีบทบาทสําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนและโครงสร้างของยีนพูล (gene pool) ซึ่งเกิดจากโอกาส หรือความบังเอิญ หรือจากภัยธรรมชาติ

    ตอบลบ
  7. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  8. น.ส.พชรพร ศิลาพัฒน์ ม.6/2 เลขที่ 37

    ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution)
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1.แรนดอมจีเนติกดริฟท์
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน
    3.การเลือกคู่ผสมพันธุ์
    4.มิวเทชัน
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

    ตอบลบ
  9. นางสาวตรีรัตน์ ดวงวิสุ่ย เลขที่ 44 ชั้น ม.6/2
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีน
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow)
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating) ประชากรที่สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่าๆกัน จะไม่มีผลต่อการเปลี่นแปลงความถี่ของยีนพูลของประชากรในทุกรุ่น
    4. มิวเทชัน(mutation) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับยีน และในระดับโครโมโซมในลักษณะต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นได้เสมอในสภาวะปกติ
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection) ทำให้สมาชิกของประชากรที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมีจำนวนมากเพิ่มขึ้น ลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูกคัดทิ้ง

    ตอบลบ
  10. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random geneticdrif) เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น ในประชากรเริ่มต้นมีความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับ ความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับความถี่ของแอลลีน A ในประชากรรุ่นถัดไป อาจมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่มากหรือน้อยกว่าความถี่ของแอลลีล A และ a ในประชากรเริ่มต้น
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1.แรนดอมจีเนติกดริฟท์
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน
    3.การเลือกคู่ผสมพันธุ์
    4.มิวเทชัน
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    นายอนุพงค์ อุตมสีขันธ์ ชั้น ม.6/2 เลขที่ 14

    ตอบลบ
  11. น.ส.กิตติมา ทานนท์ เลขที่ 20 ชั้น ม.6/2
    สรุป :ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow) เกิดในลักษณะเช่น การแพร่กระจายของสปอร์ หรือละอองเรณูหรือเมล็ดระหว่างประชากรพืชจากพื้นที่หนึ่งแพร่กระจายไปยัง พื้นที่อื่น ทำให้ความถี่ของแอลลีลในประชากรทั้งสองมีแนวโน้มแตกต่างกันน้อยลงเรื่อยๆ จนในที่สุดเปรียบเสมือนเป็นประชากรเดียวกัน
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating) ประชากรที่สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่าๆกัน จะไม่มีผลต่อการเปลี่นแปลงความถี่ของยีนพูลของประชากรในทุกรุ่น แต่ในธรรมชาติโดยทั่วไปสมาชิกในประชากรมักจะมีการเลือกคู่ผสมพันธุ์ ทำให้สมาชิกบางส่วนไม่มีโอกาสได้ผลสมพันธุ์ จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในยีนพูล ของประชากรในรุ่นต่อไป
    4. มิวเทชัน(mutation) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับยีน และในระดับโครโมโซมในลักษณะต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นได้เสมอในสภาวะปกติ การเกิดมิวเทชันอย่างเดียวไม่มีผลมากพอจะเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรม ของยีนพูลในประชากรขนาดใหญ่ภายในรุ่นเดียว แต่เป็นการสร้างแอลลีลใหม่ที่สะสมไว้ในยีนพูลของประชากรทำให้เกิดความหลาก หลายทางพันธุกรรมของประชากรโดยธรรมชาติจะเป็นผู้คัดเลือกแอลลีลใหม่ที่เหมาะสมไว้ในประชากร
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection) ทำให้สมาชิกของประชากรที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมีจำนวนมากเพิ่มขึ้น ลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูกคัดทิ้ง

    ตอบลบ
  12. นางสาวเพ็ญนภา โยธาฤทธิ์ ชั้น ม.6/2 เลขที่ 39
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1.random genetic drift คือ การที่ประชากรมีการเปลี่ยนแปลงกะทันหัน ทำให้ยีนพูลของประชากรรุ่นต่อมาไม่สามารถเป็นตัวแทนของประชากรรุ่นก่อนหน้านี้ได้ แบ่งออกเป็น
    1.1 ปรากฏการณ์คอขวด คือเกิดภัยธรรมชาติทำให้ประชากรมีขนาดเล็กลง ความถี่อัลลีลก็เปลี่ยนไปจากก่อนหน้านี้
    1.2 ผลกระทบจากผู้ก่อตัว คือ กลุ่มประชากรกลุ่มเล็กๆเกิดการย้ายถิ่นไปที่ใหม่ ความถี่อัลลีล ของประชากรกลุ่มใหม่ก็เปลี่ยนไปจากเดิม
    2.การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน คือการที่ประชากร 2 กลุ่มมาผสมพันธุ์กัน หรือการแพร่กระจายของสปอร์ ละอองเรณู เมล็ด รวมถึงการอพยพมารวมๆกัน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่อัลลีลในลักษณะที่ทำให้ประชากรสองกลุ่มแตกต่างกันน้อยลงเรื่อยๆ มีลักษณะคล้ายกันมากขึ้น
    3.การเลือกคู่ผสมพันธุ์ ทำให้สมาชิกบางตัวลดโอกาสในการผสมพันธุ์ อัลลีลบางตัวอาจลดลงหรือหายไป
    4.การกลายพันธุ์ คือเกิดอัลลีลใหม่ในระดับสมาชิก แต่เพียงเท่านั้นยังไม่ทำให้ความถี่อัลลีลของยีนพูลเปลี่ยนแปลง แต่ธรรมชาติจะเป็นผู้เลือกอัลลีลที่กลายนั้นให้ถ่ายทอดและสะสมในประชากรมากขึ้นเรื่อยๆ จนความถี่อัลลีลเปลี่ยนแปลงในที่สุด
    5.การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ย่อมทำให้อัลลีลที่ไม่เหมาะสมลดน้อยลง ในทางกลับกันอัลลีลที่เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมขณะนั้นก็จะมากขึ้น

    ตอบลบ
  13. นางสาวจริยา ปรึกไธสง เลขที่ 33 6/2
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล คือ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random geneticdrif) เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง

    ตอบลบ
  14. ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    นายวาสุเทพ คำไสย์ ม.6/2 เลขที่ 12

    ตอบลบ
  15. นายชินภัทร ลับแล เลขที่4 ม.6/2
    แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้ การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน gene flowเช่น การแพร่กระจายของสปอร์ ละอองเรณูจากพื้นที่หนึ่งแพร่กระจายไปยังพื้นที่อื่น ทำให้ความถี่ของแอลลีลในประชากรทั้งสองแตกต่างกันน้อยลงเรื่อยๆ การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random matingในธรรมชาติโดยทั่วไปสมาชิกในประชากรมักจะมีการเลือกคู่ผสมพันธุ์ จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในยีนพูล ของประชากรในรุ่นต่อไป มิวเทชัน(mutation) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับยีน และในระดับโครโมโซมทำให้เกิดความหลาก หลายทางพันธุกรรมของประชากร การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection) สมาชิกของประชากรที่มีลักษณะเหมาะสมมีจำนวนมากเพิ่มขึ้น ลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูกคัดทิ้ง

    ตอบลบ
  16. น.ส.มินตรา โลหะพรม ม.6/2 เลขที่ 41

    แรนดอมจีนีติกดริฟท์ (Random genetic drift)หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล ซึ่งเกิดอย่างรวดเร็วเป็นแบบสุ่มและไม่มีทิศทาง มักเกิดขึ้นโดยประชากรมีจำนวนสมาชิกน้อยลงอย่างฉับพลันโดยเหตุบังเอิญ หรืออุบัติภัยธรรมชาติ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในยีนพูลเป็นอย่างมาก

    แรนดอมจีเนติกดริฟท์ ที่พบในธรรมชาติมี 2 สถานการณ์ คือ
    1.1 ผลกระทบจากผู้ก่อตั้ง (founder effect)
    1.2 ปรากฏการณ์คอขวด (bottleneck effect)
    1.1 ผลกระทบจากผู้ก่อตั้ง (founder effect) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นกับประชากรที่มีขนาดเล็ก อันเป็นผลจากการอพยพ หรือแยกตัวออกมาจากประชากรขนาดใหญ่ ประชากรที่แยกตัวออกมานั้น อาจเป็นเพียงเพศเมียที่ผ่านการผสมพันธุ์แล้วเพียงตัวเดียว หรือ เมล็ดพืช 1 เมล็ด ไปอยู่ในแหล่งที่อยู่ใหม่ที่อุดมสมบูรณ์และสามารถแพร่พันธุ์กลายเป็นประชากรกลุ่มใหม่อย่างรวดเร็ว โดยประชากรกลุ่มใหม่มีความถี่ของยีนแตกต่างจากประชากรดั้งเดิมอย่างชัดเจน
    1.2 ปรากฏการณ์คอขวด (Bottleneck effect).เกิดจากเดิมประชากรมีขนาดใหญ่ มีความหลากหลายทางพันธุกรรมมาก โดยจำนวนประชากรลดลงอย่างรวดเร็ว อันเนื่องมาจากสภาวะแวดล้อมไม่เอื้ออำนวย เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ขาดแคลนอาหาร หรือเกิดโรคระบาด ทำให้ประชากรที่รอดจากเหตุการณ์ดังกล่าวมีขนาดเล็กลง มีผลทำให้ความถี่ของแอลลีลในประชากรเปลี่ยนแปลง โดยบางแอลลีลเพิ่มมากขึ้น บางแอลลีลลดน้อยลงหรือหายไปจากยีนพูล และทำให้ประชากรนั้นมีความหลากหลายทางพันธุกรรมลดลง

    ตอบลบ
  17. นางสาวพรพรรณ กาวี เลขที่ 38 ม.6/2
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ คือความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอยู่ใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม คือ เกิดกับเซลล์ร่างกายซึ่งเรียกว่าโซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล์สืบพันธุ์เรียกว่าแกมีติคมิวเทชัน (gametic mutation)
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากร คือ การหมุนเวียนพันธุกรรมหรือที่เรียกว่าการไหลของยีน (gene flow)
    4.ขนาดของประชากร คีอ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร
    5.รูปแบบของการผสมพันธุ์ 1. การผสมพันธุ์แบบสุ่ม 2.2. การผสมพันธุ์ที่ไม่เป็นแบบสุ่ม

    ตอบลบ
  18. นายอภินันท์ การสวน ม.6/2 เลขที่ 16
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ความถี่ของแอลลีลในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามรถสังเกตเห็นได้ นั่นคือประชากรเกิดวิวัฒนาการขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กทีละน้อยนี้เรียกว่า  วิวัฒนาการระดับจุลภาค(macroevolution) ซึ่งถึงได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชิส์ของสิ่งมีชีวิต
       จากกล่าวมาแล้วว่าปัจจัยที่ทำให้ความถี่ของแอลลีลในประชากรเปลี่ยนแปลงละเกิดวิวัฒนาการ ได้แก่
    1.แรนดอมจีเนติกดริฟท์
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน
    3.การเลือกคู่ผสมพันธุ์
    4.มิวเทชัน
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

    ตอบลบ
  19. นายภิสิทธิ์ เพียกคะ ชั้น ม.6/2 เลขที่ 11
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ความเป็นจริงสภาพธรรมชาติมีหลากหลายปัจจัยที่ทำให้ความถี่แอลลีลเปลี่ยนแปลงไป ไม่เป็นไปตามกฎของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก จึงทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพันธุกรรมในประชากรทีละเล็กทีละน้อยจนทำให้เกิด วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตขึ้น ปัจจัยต่างๆ ทีทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่แอลลีลหรือเกิดวิวัฒนาการขึ้น ได้แก่
    1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. มิวเทชันและความแปรผันทางพันธุกรรม
    3. การอพยพและการเคลื่อนย้ายประชากร
    4. เจเนติกดริฟต์
    5. รูปแบบการแพร่พันธุ์

    ตอบลบ
  20. นางสาวอภิญญา โคตะวินนท์ เลขที่ 25 ชั้น ม.6/2
    สรุป ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ คือความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอยู่ใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม คือ เกิดกับเซลล์ร่างกายซึ่งเรียกว่าโซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล์สืบพันธุ์เรียกว่าแกมีติคมิวเทชัน (gametic mutation)
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากร คือ การหมุนเวียนพันธุกรรมหรือที่เรียกว่าการไหลของยีน (gene flow)
    4.ขนาดของประชากร คีอ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร
    5.รูปแบบของการผสมพันธุ์ 1. การผสมพันธุ์แบบสุ่ม 2.2. การผสมพันธุ์ที่ไม่เป็นแบบสุ่ม

    ตอบลบ
  21. นางสาวชไมพร ภักสอนิสิทธิ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.6/2
    สรุป 1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ คือความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอยู่ใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม คือ เกิดกับเซลล์ร่างกายซึ่งเรียกว่าโซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล์สืบพันธุ์เรียกว่าแกมีติคมิวเทชัน (gametic mutation)
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากร คือ การหมุนเวียนพันธุกรรมหรือที่เรียกว่าการไหลของยีน (gene flow)
    4.ขนาดของประชากร คีอ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร
    5.รูปแบบของการผสมพันธุ์

    สิ่งมีชีวิตส่วนมากจะมีรูปแบบการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศอย่างเด่นชัด โดยแบ่งเป็น2 กรณี คือ

    1. การผสมพันธุ์แบบสุ่ม
    เป็นรูปแบบที่เกิดขึ้นเป็นส่วนมากในประชากร การผสมพันธุ์แบบสุ่มนี้จะไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนในแต่ละชั่วอายุมากนัก

    2. การผสมพันธุ์ที่ไม่เป็นแบบสุ่ม
    เป็นรูปแบบที่เกิดขึ้นเป็นบางครั้ง โดยมีการเลือกคู่ผสมภายในกลุ่ม ซึ่งมีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดการผสมพันธุ์ภายในสายพันธุ์เดียวกัน หรือที่เรียกว่า อินบรีดดิง (inbreeding) อันจะยังผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนในประชากรนั้นได้

    ตอบลบ
  22. นางสาวสุทธิกานต์. ลายโถ. เลขที่17 ม.6/2
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ความถี่ของแอลลีลในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามรถสังเกตเห็นได้ นั่นคือประชากรเกิดวิวัฒนาการขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กทีละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค(macroevolution) ซึ่งถึงได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชิส์ของสิ่งมีชีวิต
    จากกล่าวมาแล้วว่าปัจจัยที่ทำให้ความถี่ของแอลลีลในประชากรเปลี่ยนแปลงละเกิดวิวัฒนาการ ได้แก่
    1.แรนดอมจีเนติกดริฟท์
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน
    3.การเลือกคู่ผสมพันธุ์
    4.มิวเทชัน
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

    ตอบลบ
  23. นางสาวละอองดาว มาตช่วง เลขที่ 46 ชั้น ม.6/2
    สรุป 1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ คือความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอยู่ใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม คือ เกิดกับเซลล์ร่างกายซึ่งเรียกว่าโซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล์สืบพันธุ์เรียกว่าแกมีติคมิวเทชัน (gametic mutation)
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากร คือ การหมุนเวียนพันธุกรรมหรือที่เรียกว่าการไหลของยีน (gene flow)
    4.ขนาดของประชากร คีอ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร
    5.รูปแบบของการผสมพันธุ์
    สิ่งมีชีวิตส่วนมากจะมีรูปแบบการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศอย่างเด่นชัด โดยแบ่งเป็น2 กรณี คือ
    1. การผสมพันธุ์แบบสุ่ม
    เป็นรูปแบบที่เกิดขึ้นเป็นส่วนมากในประชากร การผสมพันธุ์แบบสุ่มนี้จะไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนในแต่ละชั่วอายุมากนัก
    2. การผสมพันธุ์ที่ไม่เป็นแบบสุ่ม
    เป็นรูปแบบที่เกิดขึ้นเป็นบางครั้ง โดยมีการเลือกคู่ผสมภายในกลุ่ม ซึ่งมีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดการผสมพันธุ์ภายในสายพันธุ์เดียวกัน หรือที่เรียกว่า อินบรีดดิง (inbreeding) อันจะยังผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนในประชากรนั้นได้

    ตอบลบ
  24. นางสาวอนุวรรณ อันเนตร์ เลขที่ 19 ม.6/2
    การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ ที่พบในธรรมชาติมี 2สถานการณ์ คือ ปรากฏการณ์คอขวด ( Bottleneck effect ) และ ผลกระทบจากผู้ก่อตัว ( Founder effect )
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow)
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating)
    4. มิวเทชัน(mutation)
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection)

    ตอบลบ
  25. ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดความสามารถในการสืบพันธุ์จะเพิ่มจํานวนได้สูงมาก หากไม่มีปัจจัยที่จํากัดการเพิ่มจํานวนแล้ว สิ่งมีชีวิตทั้งหลายคงจะล้นโลก แต่ตามที่เป็นจริง จํานวนของสิ่งมีชีวิตค่อนข้างจะคงที่ เนื่องจากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ซึ่งอาศัยหลักเกณฑ์พื้นฐานว่าจะไม่มีลักษณะทางกรรมพันธุ์ชุดเดียวที่เหมาะสมต่อสภาพความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่อาศัย ฉะนั้นการคัดเลือกโดยธรรมชาติจึงต้องมีปัจจัยสําคัญ คือ ความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
    1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากร
    4.ขนาดของประชากร
    5.รูปแบบของการผสมพันธุ์
    5.1 การผสมพันธุ์แบบสุ่ม
    5.2 การผสมพันธุ์ที่ไม่เป็นแบบสุ่ม

    ตอบลบ
  26. นภาวะสมดุลของ ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กนั้น ความถี่ของแอลลีลในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุ กรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือประชากรเกิดวิวัฒนาการขึ้น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กทีละน้อยนี้ เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์
    4. มิวเทชัน
    นางสาวสุดารัตน์ เทียมทนงค์ ม.6/2 เลขที่48

    ตอบลบ
  27. น.ส.ศศินีย์ โคตะวินนท์ เลขที่23 ม.6/2 ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random geneticdrif) เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น

    ตอบลบ
  28. น.ส.ชัชฎาภรณ์ วริวรรณ เลขที่ 52 ม.6/2
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอยู่ใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากร
    4.ขนาดของประชากร
    5.รูปแบบของการผสมพันธุ์
    6.แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random geneticdrif) เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร

    ตอบลบ
  29. นางสาวอุทุมพร พรมสอน เลขที่50 ชั้น ม.6/2

    1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดความสามารถในการสืบพันธุ์จะเพิ่มจํานวนได้สูงมาก หากไม่มีปัจจัยที่จํากัดการเพิ่มจํานวนแล้ว สิ่งมีชีวิตทั้งหลายคงจะล้นโลก แต่ตามที่เป็นจริง จํานวนของสิ่งมีชีวิตค่อนข้างจะคงที่ เนื่องจากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ซึ่งอาศัยหลักเกณฑ์พื้นฐานว่าจะไม่มีลักษณะทางกรรมพันธุ์ชุดเดียวที่เหมาะสมต่อสภาพความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่อาศัย ฉะนั้นการคัดเลือกโดยธรรมชาติจึงต้องมีปัจจัยสําคัญ คือ ความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอยู่ใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม
    การผ่าเหล่า (mutation) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การผ่าเหล่าหรือมิวเทชันมีทั้งที่เกิดกับเซลล์ร่างกายซึ่งเรียกว่าโซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล์สืบพันธุ์เรียกว่าแกมีติคมิวเทชัน (gametic mutation)
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากร
    สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีการอพยพเข้าหรือออกของสมาชิก ส่งผลให้มีการหมุนเวียนพันธุกรรมหรือที่เรียกว่าการไหลของยีน (gene flow)
    4.ขนาดของประชากร
    การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร มีบทบาทสําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนและโครงสร้างของยีนพูล (gene pool) ซึ่งเกิดจากโอกาส หรือความบังเอิญ หรือจากภัยธรรมชาติ

    ตอบลบ
  30. น.ส.ศิลาลักษณ์ ตรีเหลา ม.6/2 เลขที่ 31
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนได้แก่
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift)
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow)
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating)
    4. มิวเทชัน(mutation)
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection)

    ตอบลบ
  31. นางสาววราภรณ์ เทศารินทร์ เลขที่ 47 ม.6/2
    การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ ที่พบในธรรมชาติมี 2สถานการณ์ คือ ปรากฏการณ์คอขวด ( Bottleneck effect ) และ ผลกระทบจากผู้ก่อตัว ( Founder effect )
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow)
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating)
    4. มิวเทชัน(mutation)
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection)

    ตอบลบ
  32. นางสาวพัชราภรณ์ วังนันท์ เลขที่ 18 ชั้นม.6/2
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติคือ ความสามารถในการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการถ่ายทอดลักษณะแตกต่างที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอยู่ใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
    2. การผ่าเหล่า (mutation) และการแปรผันทางพันธุกรรม เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การผ่าเหล่าหรือมิวเทชันมีทั้งที่เกิดกับเซลล์ร่างกายซึ่งเรียกว่าโซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล์สืบพันธุ์เรียกว่าแกมีติคมิวเทชัน (gametic mutation) มิวเทชันที่มีผลต่อขบวนการวิวัฒนาการมาก
    3.การอพยพของสมาชิกในประชากรสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีการอพยพเข้าหรือออกของสมาชิก ส่งผลให้มีการหมุนเวียนพันธุกรรมหรือที่เรียกว่าการไหลของยีน (gene flow) เกิดขึ้นระหว่างประชากรย่อยๆ
    4.ขนาดของประชากร การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร มีบทบาทสําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนและโครงสร้างของยีนพูล (gene pool) ซึ่งเกิดจากโอกาส หรือความบังเอิญ หรือจากภัยธรรมชาติ
    5.รูปแบบของการผสมพันธุ์
    1. การผสมพันธุ์แบบสุ่ม
    2. การผสมพันธุ์ที่ไม่เป็นแบบสุ่ม

    ตอบลบ
  33. นางสาวอรุณลักษณ์ ฆารละออง ม.6/2 เลขที่ 42
    สรุป ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล

    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ ที่พบในธรรมชาติมี 2สถานการณ์ คือ ปรากฏการณ์คอขวด ( Bottleneck effect ) และ ผลกระทบจากผู้ก่อตัว ( Founder effect )
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow)
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating)
    4. มิวเทชัน(mutation)
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection)

    ตอบลบ
  34. นางสาวศิรินาท คำไชยโย ชั้นม.6/2 เลขที่ 30
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random geneticdrif) เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง

    ตอบลบ
  35. นายทิวา พุทธสาราษฎร์ ชั้น ม. 6/2 เลขที่ 8 ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีน
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow)
    3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating) ประชากรที่สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่าๆกัน จะไม่มีผลต่อการเปลี่นแปลงความถี่ของยีนพูลของประชากรในทุกรุ่น
    4. มิวเทชัน(mutation) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับยีน และในระดับโครโมโซมในลักษณะต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นได้เสมอในสภาวะปกติ
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection) ทำให้สมาชิกของประชากรที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมีจำนวนมากเพิ่มขึ้น ลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูกคัดทิ้ง

    ตอบลบ
  36. นางสาวหัตทยา จรนามน เลขที่ 49 ชั้น ม.6/2
    สรุปคือ ปัจจัยที่ทำให้ความถี่ของแอลลีนในประชากรเปลี่ยนแปลงและเกิดวิวัฒนาการ ได้แก่ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน มิวเทชัน และการเลือกคู่ผสมพันธุ์ ซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ทำให้เกิดวิวัฒนาการได้อย่างไร
    1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random geneticdrif) เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น ในประชากรเริ่มต้นมีความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับ ความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับความถี่ของแอลลีน A ในประชากรรุ่นถัดไป อาจมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่มากหรือน้อยกว่าความถี่ของแอลลีล A และ a ในประชากรเริ่มต้น

    ตอบลบ
  37. นางสาวจุฬารุตน์ มิคะ ม.ุ6/7 เลขที่20
    #ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล#

    ภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution)

    ตอบลบ
  38. นายกรวิทย์ จงมีสัตย์ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 1**ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของอัลลีล**
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random geneticdrif) เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง

    ตอบลบ
  39. นายอภิสิทธิ์ มังคะรัตน์ ม6/7 เลขที่ 20
    #ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล#
    ภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต

    ตอบลบ
  40. นายอภิสิทธิ์ มังคะรัตน์ ม6/7 เลขที่ 3
    #ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล#
    ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต



    ตอบลบ
  41. นางสาวอภัสรา ลุนใต้ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 18
    ***ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล***
    ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กนั้น ความถี่ของแอลลีลในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามรถสังเกตเห็นได้ นั่นคือประชากรเกิดวิวัฒนาการขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กทีละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค(macroevolution) ซึ่งถึงได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชิส์ของสิ่งมีชีวิต
    จากล่าวมาแล้วว่าปัจจัยที่ทำให้ความถี่ของแอลลีลในประชากรเปลี่ยนแปลงละเกิดวิวัฒนาการ ได้แก่แรนดอมจีเนติกดริฟท์การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน มิวเทชัน และการเลือกคู่ผสมพันธุ์
    จากปัจจัยต่างๆที่ได้กล่าวมาแล้ว ทุกปัจจัยมีผลทำให้ความถี่ของแอลลีลที่เป็นองศ์ประกอบทางพันธุกรรมในประชากรมีการเปลี่ยนแปลง และมีเพียงการคัดเลือกโดยธรรมชาติเท่านั้นที่การเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรทำให้มีลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม

    ตอบลบ
  42. นายปฏิภาณ สมคะเนย์ ม.6/7 เลขที่2
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ความถี่ของแอลลีลในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามรถสังเกตเห็นได้ นั่นคือประชากรเกิดวิวัฒนาการขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กทีละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค(macroevolution) ซึ่งถึงได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชิส์ของสิ่งมีชีวิต
    จากกล่าวมาแล้วว่าปัจจัยที่ทำให้ความถี่ของแอลลีลในประชากรเปลี่ยนแปลงละเกิดวิวัฒนาการ ได้แก่
    1.แรนดอมจีเนติกดริฟท์
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน
    3.การเลือกคู่ผสมพันธุ์
    4.มิวเทชัน
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

    ตอบลบ
  43. นาย ณัฐพงษ์ อำนักขันธ์ ม.6/7 เลขที่4 **ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของอัลลีล**
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
    แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random geneticdrif) เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง

    ตอบลบ
  44. นายชิตณรงค์ กุลมงกฏ ม.6/7เลขที่13 ***ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล***
    ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กนั้น ความถี่ของแอลลีลในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามรถสังเกตเห็นได้ นั่นคือประชากรเกิดวิวัฒนาการขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กทีละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค(macroevolution) ซึ่งถึงได้ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชิส์ของสิ่งมีชีวิต
    จากล่าวมาแล้วว่าปัจจัยที่ทำให้ความถี่ของแอลลีลในประชากรเปลี่ยนแปลงละเกิดวิวัฒนาการ ได้แก่แรนดอมจีเนติกดริฟท์การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน มิวเทชัน และการเลือกคู่ผสมพันธุ์
    จากปัจจัยต่างๆที่ได้กล่าวมาแล้ว ทุกปัจจัยมีผลทำให้ความถี่ของแอลลีลที่เป็นองศ์ประกอบทางพันธุกรรมในประชากรมีการเปลี่ยนแปลง และมีเพียงการคัดเลือกโดยธรรมชาติเท่านั้นที่การเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรทำให้มีลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม

    ตอบลบ
  45. ชไมพร ผลชื่น ม.6/7 เลขที่26
    ***ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล***

    เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น ในประชากรเริ่มต้นมีความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับ ความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับความถี่ของแอลลีน A ในประชากรรุ่นถัดไป อาจมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่มากหรือน้อยกว่าความถี่ของแอลลีล A และ a ในประชากรเริ่มต้น

    ตอบลบ
  46. ชไมพร ผลชื่น ม.6/7 เลขที่26
    ***ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล***

    เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น ในประชากรเริ่มต้นมีความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับ ความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับความถี่ของแอลลีน A ในประชากรรุ่นถัดไป อาจมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่มากหรือน้อยกว่าความถี่ของแอลลีล A และ a ในประชากรเริ่มต้น

    ตอบลบ
  47. ชไมพร ผลชื่น ม.6/7 เลขที่26
    ***ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล***

    เป็นการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรจากชั่วรุ่นหนึ่งไปยังอีกชั่วรุ่้นหนึ่งในประชากร เนื่องจากโอกาสของแอลลีนที่จะถูกถ่ายทอดไม่เท่ากัน ถ้าในกลุ่มประชากรแอลลีนใดมีโอกาสถ่ายทอดมากกว่าแอลลีนอื่น หรือแอลลีนใดไม่มีโอกาสถ่ายทอดหรือถูกคัดทิ้งแบบบังเอิญ ทำให้ความถี่ของแอลลีนในรุ่นต่อ ๆ ไปเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น ในประชากรเริ่มต้นมีความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับ ความถี่ของแอลลีน A และ a เท่ากับ 0.4 และ 0.6 ตามลำดับความถี่ของแอลลีน A ในประชากรรุ่นถัดไป อาจมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่มากหรือน้อยกว่าความถี่ของแอลลีล A และ a ในประชากรเริ่มต้น

    ตอบลบ
  48. ชื่อ นางสาวจุฬารัตน์ ไชยสัตย์ ม.6/7 เลขที่ 25
    ในภาวะสมดุลย์ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก ความถี่ของแอลลีนในประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีกำารเปลี่ยนแปลง แต่้ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีนในประชากรจะทำให้โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือ ประชากรเกิดวิวัฒนาการคขึ้น และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากรทีละเล็กละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution)
    ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
    1.แรนดอมจีเนติกดริฟท์
    2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน
    3.การเลือกคู่ผสมพันธุ์
    4.มิวเทชัน
    5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

    ตอบลบ

THE ENDOCRINE SYSTEM

THE ENDOCRINE SYSTEM Contents Hormones Evolution of Endocrine Systems Endocrine Systems and Feedback Mechanisms of Hormone Action ...