Despite
differences between prokaryotes and eukaryotes, there are several common
features in their cell division processes. Replication of the DNA must occur.
Segregation of the "original" and its "replica" follow.
Cytokinesis ends the cell division process. Whether the cell was eukaryotic or
prokaryotic, these basic events must occur.
Cytokinesis is the process where one cell splits off from
its sister cell. It usually occurs after cell division. The Cell Cycle is the
sequence of growth, DNA replication, growth and cell division that all cells go
through. Beginning after cytokinesis, the daughter cells are quite small and
low on ATP. They acquire ATP and increase in size during the G1 phase of
Interphase. Most cells are observed in Interphase, the longest part of the cell
cycle. After acquiring sufficient size and ATP, the cells then undergo DNA
Synthesis (replication of the original DNA molecules, making identical copies,
one "new molecule" eventually destined for each new cell) which
occurs during the S phase. Since the formation of new DNA is an energy draining
process, the cell undergoes a second growth and energy acquisition stage, the
G2 phase. The energy acquired during G2 is used in cell division (in this case
mitosis).
The cell cycle.
Image from Purves et al., Life: The Science of Biology, 4th Edition, by Sinauer
Associates (www.sinauer.com) and WH Freeman (www.whfreeman.com),
used with permission.
Regulation of
the cell cycle is accomplished in several ways. Some cells divide rapidly
(beans, for example take 19 hours for the complete cycle; red blood cells must
divide at a rate of 2.5 million per second). Others, such as nerve cells, lose
their capability to divide once they reach maturity. Some cells, such as liver
cells, retain but do not normally utilize their capacity for division. Liver
cells will divide if part of the liver is removed. The division continues until
the liver reaches its former size.
Cancer cells
are those which undergo a series of rapid divisions such that the daughter
cells divide before they have reached "functional maturity".
Environmental factors such as changes in temperature and pH, and declining
nutrient levels lead to declining cell division rates. When cells stop
dividing, they stop usually at a point late in the G1 phase, the R point (for
restriction).
Prokaryotic Cell Division
Prokaryotes are much simpler in their organization than
are eukaryotes. There are a great many more organelles in eukaryotes, also more
chromosomes. The usual method of prokaryote cell division is termed binary fission. The prokaryotic chromosome is a single DNA
molecule that first replicates, then attaches each copy to a different part of
the cell membrane. When the cell begins to pull apart, the replicate and
original chromosomes are separated. Following cell splitting (cytokinesis), there are then two cells of identical
genetic composition (except for the rare chance of a spontaneous mutation).
The prokaryote
chromosome is much easier to manipulate than the eukaryotic one. We thus know
much more about the location of genes and their control in prokaryotes.
One consequence
of this asexual method of reproduction is that all organisms in a colony are
genetic equals. When treating a bacterial disease, a drug that kills one
bacteria (of a specific type) will also kill all other members of that clone
(colony) it comes in contact with.
Rod-Shaped
Bacterium, E. coli, dividing by binary fission (TEM x92,750). This image
is copyright Dennis Kunkel at www.DennisKunkel.com, used with permission.
Rod-Shaped
Bacterium, hemorrhagic E. coli, strain 0157:H7 (division) (SEM x22,810).
This image is copyright Dennis Kunkel at www.DennisKunkel.com,
used with permission.
Eukaryotic Cell Division
Due to their
increased numbers of chromosomes, organelles and complexity, eukaryote cell
division is more complicated, although the same processes of replication,
segregation, and cytokinesis still occur.
Mitosis
Mitosis is the process of forming (generally)
identical daughter cells by replicating and dividing the original chromosomes,
in effect making a cellular xerox. Commonly the two processes of cell division
are confused. Mitosis deals only with the segregation of the chromosomes and
organelles into daughter cells.
Eukaryotic
chromosomes occur in the cell in greater numbers than prokaryotic chromosomes.
The condensed replicated chromosomes have several points of interest. The kinetochore is the point where microtubules of the spindle
apparatus attach. Replicated chromosomes consist of two molecules of DNA (along
with their associated histone proteins) known as chromatids. The area where both chromatids are in contact
with each other is known as the centromere the kinetochores are on the outer sides of the
centromere. Remember that chromosomes are condensed chromatin (DNA plus histone proteins).
Structure of a
eukaryotic chromosome. Image from Purves et al., Life: The Science of
Biology, 4th Edition, by Sinauer Associates (www.sinauer.com) and WH Freeman (www.whfreeman.com),
used with permission.
During mitosis
replicated chromosomes are positioned near the middle of the cytoplasm and then
segregated so that each daughter cell receives a copy of the original DNA (if
you start with 46 in the parent cell, you should end up with 46 chromosomes in
each daughter cell). To do this cells utilize microtubules (referred to as the spindle apparatus) to "pull" chromosomes into each
"cell". The microtubules have the 9+2 arrangement discussed earlier.
Animal cells (except for a group of worms known as nematodes) have a centriole. Plants and most other eukaryotic organisms
lack centrioles. Prokaryotes, of course, lack spindles and centrioles; the cell
membrane assumes this function when it pulls the by-then replicated chromosomes
apart during binary fission. Cells that contain centrioles also have a series
of smaller microtubules, the aster, that extend from the centrioles to the cell
membrane. The aster is thought to serve as a brace for the functioning of the
spindle fibers.
Structure and
main features of a spindle apparatus. Image from Purves et al., Life: The
Science of Biology, 4th Edition, by Sinauer Associates (www.sinauer.com) and WH Freeman (www.whfreeman.com),
used with permission.
The phases of
mitosis are sometimes difficult to separate. Remember that the process is a
dynamic one, not the static process displayed of necessity in a textbook.
Prophase
Prophase is the first stage of mitosis proper.
Chromatin condenses (remember that chromatin/DNA replicate during Interphase),
the nuclear envelope dissolves, centrioles (if present) divide and migrate,
kinetochores and kinetochore fibers form, and the spindle forms.
Pea Plant
Nuclear DNA, from Vicea faba (TEM x105,000). This image is copyright
Dennis Kunkel at www.DennisKunkel.com, used with permission.
The events of
Prophase. Image from Purves et al., Life: The Science of Biology, 4th
Edition, by Sinauer Associates (www.sinauer.com) and WH Freeman (www.whfreeman.com),
used with permission.
Metaphase
Metaphase follows Prophase. The chromosomes (which at
this point consist of chromatids held together by a centromere) migrate to the
equator of the spindle, where the spindles attach to the kinetochore fibers.
Anaphase
Anaphase begins with the separation of the centromeres,
and the pulling of chromosomes (we call them chromosomes after the centromeres
are separated) to opposite poles of the spindle.
The events of
Metaphase and Anaphase. Image from Purves et al., Life: The Science of
Biology, 4th Edition, by Sinauer Associates (www.sinauer.com) and WH Freeman (www.whfreeman.com),
used with permission.
Telophase
Telophase is when the chromosomes reach the poles of
their respective spindles, the nuclear envelope reforms, chromosomes uncoil
into chromatin form, and the nucleolus (which had disappeared during Prophase)
reform. Where there was one cell there are now two smaller cells each with
exactly the same genetic information. These cells may then develop into
different adult forms via the processes of development.
The events of
Telophase. Image from Purves et al., Life: The Science of Biology, 4th
Edition, by Sinauer Associates (www.sinauer.com) and WH Freeman (www.whfreeman.com),
used with permission.
Cytokinesis
Cytokinesis is
the process of splitting the daughter cells apart. Whereas mitosis is the
division of the nucleus, cytokinesis is the splitting of the cytoplasm and
allocation of the golgi, plastids and cytoplasm into each new cell.
รูปที่ 1 การถ่ายทอดอิเล็กตรอน
วัฏจักรเครบส์ส่งอิเล็กตรอน ผ่านทาง NADH และ FADH2เข้ามาในระบบถ่ายทอดอิเล็กตรอน
ระบบนี้จะให้พลังงานสำหรับการสร้าง ATP สัดส่วนใหญ่ของ ATP จากกระบวนการหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) มาจากส่วนของออกซิเดทีฟ ฟอสโฟริีเลชัน
ท่านทราบไหมว่า
เมื่อกลูโคสถูกออกซิไดซ์อย่างสมบูรณ์ให้เป็น CO2
และ H2O จะได้ ATP จากกระบวนการออกซิเดทีฟ ฟอสโฟริเลชันในสัดส่วนเท่าไรของปริมาณที่จะได้ทั้งหมด
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้นเป็นทอดๆ
ผ่านตัวนำอิเล็กตรอน ซึ่งเป็นกลุ่มของโปรตีน (ซึ่งหลายตัวเป็นเอนไซม์) และมีโคเอนไซม์
และโคแฟคเตอร์หลายตัวรวมอยู่ด้วยกัน กลุ่มโปรตีนเหล่านี้ได้แก่ complex I,
II, III และ IV ลำดับของการถ่ายทอดอิเล็กตรอนได้แสดงไว้ในรูปที่
2
รูปที่ 2 แสดงให้เห็นการส่งอิเล็กตรอนเป็นช่วงๆ
ในระบบถ่ายทอดอิเล็กตรอน (electron
transport system ซึ่งบางครั้งเรียกว่า electron transport
chain หรือ respiratory chain)
องค์ประกอบของระบบถ่ายทอดอิเล็กตรอน คือ complex I, II, III และ IV ฝังตัวอยู่บนเยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรีย (ดังแสดงในรูปที่ 4.3)
นอกจากกลุ่มโปรตีน 4 กลุ่มนี้ ยังมีโคเอนไซม์ Q
และ ไซโตโครม c (cytochrome c ) ซึ่งสามารถเคลื่อนที่ได้เพื่อช่วยในการถ่ายทอดอิเล็กตรอนระหว่างกลุ่มโปรตีน
ดังกล่าว
Mitochondria
are the energy factories of the cells. The energy
currency for the work that animals must do is the energy-rich molecule
adenosinetriphosphate (ATP). The ATP
is produced in the mitochondria using energy stored in food. Just as the chloroplasts in plants
act as sugar factories for the supply of ordered molecules to the plant, the
mitochondria in animals and plants act to produce the ordered ATP molecules as
the energy supply for the processes of life. A
typical animal cell will have on the order of 1000 to 2000 mitochondria. So the
cell will have a lot of structures that are capable of producing a high amount
of available energy. This ATP production by the mitochondria is done by the
process of respiration, which in essence is the use of oxygen in a process
which generates energy. This is a very efficient process for using food energy
to make ATP. One of the benefits of "aerobic exercise" is that it
improves your body's ability to make ATP rapidly using the respiration process.
All
living cells have mitochondria. Hair cells and outer skin cells are dead cells
and no longer actively producing ATP, but all cells have the same structure.
Some cells have more mitochondria than others. Your fat cells have many
mitochondria because they store a lot of energy. Muscle cells have many
mitochondria, which allows them to respond quickly to the need for doing work. ATP ถูกสร้างขึ้นได้อย่างไร ?
ถึงแม้ว่าจะมีปริมาณโปรตอนที่สะสมอยู่ในทางด้านนอกของเยื่อหุ้มชั้นในจะสูงกว่าทางด้าน แมทริกซ์มากแต่เยื่อหุ้มนี้จะไม่ยอมให้ H+ซึมผ่านกลับไปยังด้านแมทริกซ์โดยอิสระได้ตลอดทุกพื้นที่ของเยื่อหุ้ม แต่
H+จะผ่านไปได้เฉพาะบริเวณจำเพาะที่อยู่บนเยื่อหุ้มชั้นในเท่านั้น
ซึ่งช่อง (channel) ที่ H+ผ่านนี้เป็นส่วนหนึ่งของเอนไซม์
ATP synthase ที่กระจายอยู่ตลอดบนเยื่อหุ้มชั้นใน ขณะที่ H+ผ่านช่องดังกล่าวเพื่อกลับสู่แมทริกซ์จะเกิดพลังงานที่ใช้สร้าง ATP
ในขณะนั้นเลย
รูปที่ 6 ภาพแสดงให้เห็นถึงกระบวนการออกซิเดทีฟ ฟอสโฟริีเลชัน และการสร้าง ATP
ซึ่งเชื่อมโยงกันด้วยการไหลของโปรตอนผ่านเยื่อหุ้มชั้นใน
สรุปได้ว่า
แหล่งพลังงานที่ใช้สร้าง ATP มาจากความแตกต่างของโปรตอนระหว่าง 2 ด้าน
ของเยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรีย
กลไกการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
ทุกกลุ่มโปรตีนที่แทรกตัวอยู่ในเยื่อหุ้มชั้นในที่ทำหน้าที่เป็นตัวพาอิเล็กตรอนไม่ว่าจะเป็น complex I หรือ II หรือ III หรือ IV ประกอบด้วยโปรตีน
(เอนไซม์) หลายตัวที่เกาะอยู่กับหมู่ ที่เรียกว่า prosthetic group
นอกจากกลุ่มโปรตีน
I, II, III และ IV ซึ่งแทรกตัวอยู่ในเยื่อหุ้ม ยังมีองค์ประกอบอีก 2 ตัว
ที่อยู่บนเยื่อหุ้มชั้นในแต่สามารถเคลื่อนที่ไปมาได้ คือ โคเอนไซม์ Q (ไม่ใช่โปรตีน เป็นสารโมเลกุลเล็กที่มีสูตรโครงสร้างที่ทำให้ละลายในไขมันได้ดี
รูปที่ 8 โครงสร้างของ Coenzyme Q ซึ่งจะทำหน้าที่รับอิเล็กตรอนจาก NADH ผ่านทาง
complex I และรับอิเล็กตรอนจาก FADH2ผ่านทาง complex II เพื่อส่งให้ complex III ต่อ องค์ประกอบอีกตัวคือ ไซโตโครม
c (cytochrome c)
ภาพจำลองของโครงสร้างของไซโตโครม
c ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีฮีมเป็นหมู่ prosthetic
ในระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอน Fe (สีแดง)
ในฮีม (สีเหลือง) จะถูกออกซิไดซ์และรีดิวซ์สลับกันไป
QH
2 + 2 Cyt ox + 2 H+matrix -------> Q + 2 Cyt c red + 4 H+cytosol
4) อิเล็กตรอนถูกส่งจากไซโตโครม
c ไปยัง O2 ผ่าน complex IV
รูปที่ 18 complex
IV รับอิเล็กตรอนจากไซโตโครม c และถ่ายทอดไปยัง
O 2
complex IV คือ ไซโตโครม ออกซิเดส
(cytochrome oxidase complex) หรือ cytochrome a a3ประกอบด้วย heme A 2 ชนิดคือ a และ a3ซึ่งเป็นฮีมที่มีทองแดง (Cu)
เป็นองค์ประกอบ complex IV จะรับอิเล็กตรอนมาจากไซโตโครม
c และส่งต่อให้ O2อิเล็กตรอน
4 ตัว จะถูกส่งไปยังโมเลกุลของ O2เพื่อรีดิวซ์ O2ให้เป็น H2O
ปฏิกิริยานี้เกิดพลังงานอิสระในปริมาณมากสำหรับปั๊มโปรตอนจากด้านแมทริกซ์ผ่านเยื่อหุ้มชั้นในออกไปด้านที่ติดกับไซโตซอล
ซึ่ง proton gradient ที่เกิดขึ้นนี้ถูกนำมาใช้ในการสร้าง ATP
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมีดังแสดงในรูป
4.12 คือ Fe2+ในไซโตโครม c (ในรูปรีดิวซ์) 2 โมเลกุลส่งอิเล็กตรอนให้ Cu ของไซโตโครม a
ซึ่งจะส่งต่อให้ Cu ของไซโตโครม a3ซึ่งจะเป็นตัวส่งอิเล็กตรอนต่อให้ O2
รวมปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนนี้คือ
4 Cyt c red + 8 H+matrix
+ O 2 ------> 4 Cyt c ox + 2 H 2O +
4 H+cytosol
ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการรีดิวซ์ของกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
อิเล็กตรอนจะไหลจากศักย์ที่มีค่า Eoน้อยกว่าไปยังด้านที่มีค่า Eoมากกว่า
ซึ่งเกิดขึ้นในหลายขั้นตอน
ในภาพจะแสดงให้เห็นถึงความต่างศักย์รีดิวซ์และพลังงานอิสระที่ได้มาจาก 3 ขั้นตอน คือ I, II, III ในแต่ละขั้นตอน
พลังงานอิสระที่ปลดปล่อยออกมาจะมากพอสำหรับการนำไปสร้าง ATP โดยกระบวนการออกซิเดทีฟ
ฟอสโฟริีเลชัน
รูปทางซ้าย:เป็นรูปจำลองอย่างคร่าวๆ ของเอนไซม์ ATP synthaseส่วน
Foฝังอยู่ในเยื่อหุ้มชั้นใน ทำหน้าที่เป็นช่องให้ H+ผ่าน ส่วน F 1ทำหน้าที่เป็นบริเวณเร่งให้
ADP + Pi ----> ATP ขณะที่ H+เคลื่อนที่ผ่านช่องใน F oตัว Fo
จะหมุนได้ส่งผลให้โปรตีนแท่งกลางที่เชื่อมต่อระหว่างส่วน Fo
และ F1 คือโปรตีน หมุนได้ และส่งผลต่อไป
ทำให้โครงสร้างสามมิติของหน่วย ย่อยบริเวณเร่งเปลี่ยนไปจนมีการสร้างและปล่อย ATP
ออกมาได้ รูปทางขวา:เป็นรูปวาดให้ง่ายขึ้นของภาพสามมิติของ ATP synthase ซึ่งได้จากการศึกษาทางรังสีเอ็กซ์
ตามทฤษฎีของ Paual Boyer ในการสร้าง ATP
นั้น 3 หน่วยย่อยที่ชื่อ ß จะเป็นตัวจับกับ ADP และ Piได้ทั้ง 3 หน่วย แต่จะเกิดการสร้าง ATP
และปล่อยออก ได้ทีละหน่วย กล่าวคือ หน่วย ßทั้ง 3 หน่วยนี้จะมีโครงสร้างสามมิติใน
3 แบบ คือ แบบ T (tight) แบบ O (open) และแบบ L (loose) การเปลี่ยนแปลงรูปร่างจากแบบหนึ่งไปยังอีกแบบหนึ่ง
ทำให้เกิดการเกาะกับ ADP + Pi การสร้าง
ATP และการปล่อย ATP แล้วก็กลับไปเริ่มเกาะกับ
ADP , Piใหม่วนเวียนอยู่เช่นนี้
หน่วยที่มีโครงสามมิติเป็นแบบ T จะเกาะกับ ATP
ได้แน่นมาก ซึ่งทำให้หน่วยนี้สามารถเปลี่ยน ADP, Piให้เป็น ATP แต่ไม่สามารถปล่อย ATP ออกไปได้ หน่วยที่มีโครงสร้างสามมิติแบบ L สามารถเกาะกับ
ADP , Piได้ แต่ไม่สามารถเปลี่ยนให้เป็น ATP
ได้ หน่วยที่มีโครงสร้างสามมิติแบบ O เป็นรูปแบบที่จะปล่อย
ATP ออกไปจากตัวและสามารถจับกับ ADP + Piได้ การเปลี่ยนโครงสร้างสามมิติเกิดขึ้นเนื่องจากการหมุนของโปรตีน Ƴ ที่เชื่อมระหว่าง Foและ F1ไป 120 oC ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา (เมื่อมองจากด้านบน) และโปรตีน Ƴ นี้จะหมุนได้ต่อเมื่อมีโปรตอนผ่านส่วน Foทั้งนี้โครงสร้างสามมิติของแต่ละหน่วยจะเปลี่ยนไปในทางที่สามารถทำงานต่อเนื่องใน
3 ขั้นตอนของการสร้าง ATP ได้
ในการหมุนของโปรตีนƳ120 oC ทวนเข็มนาฬิกา หนึ่งครั้ง จะมี ATP
ถูกปล่อยไปหนึ่งตัว ดังแสดงในรูปที่ 17
รูปที่ 24 การทำงานของเอนไซม์
ATPase ตามทฤษฎีของ Paual
Boyer ด้วยกลไก binding – change การหมุนของโปรตีน Ƴ (เนื่องจากมี H+ไหลผ่าน)
ทำให้หน่วย ß ทั้ง 3 หน่วย
เปลี่ยนโครงสร้างสามมิติกลับไปมาใน 3 รูปแบบ คือแบบ T
ที่มี ATP ที่สร้างใหม่ แต่ปล่อยออกไม่ได้
จะเปลี่ยนเป็นแบบ O ซึ่งปล่อย ATP ออกไป
และจับ ADP , Piตัวใหม่ และเปลี่ยนเป็นแบบ L
เพื่อที่จะจับกับ ADP, Piให้แน่นขึ้นเพื่อจะเริ่มการสร้าง
ATP ในรอบใหม่
จากรูปที่ 17 หน่วย T (สีน้ำเงิน) เปลี่ยนโครงสร้างสามมิติเป็นแบบ O ทำให้ปล่อย
ATP ที่สร้างขึ้นมา (ขณะที่เป็น T) ออกไปและมี
ADP, Piตัวใหม่มาเกาะ ขณะเดียวกันหน่วย L
(สีฟ้า) เปลี่ยนเป็น T ทำให้เร่งปฏิกิริยา
ADP, Piเป็น ATP แต่ยังไม่สามารถปล่อย
ATP ออกมาได้ ในเวลาเดียวกัน หน่วย O (สีเขียว)
เปลี่ยนเป็น L จับ ADP และ Piได้แน่นพอที่จะไม่ปล่อยให้หลุดออกไปเพื่อเตรียมที่จะสร้าง ATP
เมื่อรูปร่างเปลี่ยนไปเป็นแบบ T อีกครั้งหนึ่ง โดยสรุป ATP ถูกสร้างและปล่อยออกมาเมื่อโปรตอนไหลกลับจากช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มชั้นในและชั้นนอกมายังแมทริกซ์ผ่านช่อง
Foของเอนไซม์ ATP synthase และการสร้าง
ATP เกิดขึ้นที่ส่วน F1
การทดลองของ D. Walker และ P. Boyer
Boyer ได้เสนอว่าโปรตีน (ATP
synthase) ที่สร้าง ATP จากADP และphosphate
โดยการไหลกลับของโปรตอน ( H+)
นั้นสามารถเคลื่อนไหวได้และ Walker
ได้ยืนยันถ้าคำทำนายนี้ โดยการถ่ายภาพรังสีเอ็กซ์ของเอนไซม์ ATP
synthase และ Yasuda ได้ยืนยันการเคลื่อนไหวตามเวลาจริงโดยการถ่ายภาพของโปรตีนเรืองแสง
รูปที่ 25 ภาพถ่ายรังสีเอ็กซ์ของเอนไซม์ ATP synthase ของไมโตคอนเดรีย
ซึ่งมีส่วนคล้ายกับ ATP synthase คลอโรพลาสต์
รูปที่ 26 ภาพเอนไซม์ ATP synthase
ที่กำลังหมุน (ภาพนี้ถูกปรับให้เคลื่อนไหวช้าลง
267 เท่าของความเร็วจริง)
รูปที่ 27 ภาพเอนไซม์ ATP synthase ที่กำลังหมุน (ภาพนี้ถูกปรับให้เคลื่อนไหวช้าลง 267 เท่าของความเร็วจริง)
รูปที่ 28 ภาพแสดงการเคลื่อนที่ของโปรตอน ช่วยให้เกิดการหมุนของ c subunits ใน ATP synthase